นัก จิตวิทยา กับ จิตแพทย์

July 2, 2022

น้อง ๆ ชาวแคมปัส-สตาร์ ที่กำลังสับสนอยู่ว่าระหว่าง จิตแพทย์และนักจิตวิทยา เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรบ้าง? ทั้งในเรื่องของการเรียน การทำงาน และวิธีการรักษาผู้ป่วย ในบทความนี้มีข้อมูลมาให้น้อง ๆ ได้ทำความเข้าใจ โดยข้อมูลอ้างอิงมาจากความแตกต่างการทำงานของจิตแพทย์และนักจิตวิทยาในประเทศสหรัฐอเมริกา จิตแพทย์ – นักจิตวิทยา แตกต่างกันอย่างไร 6 ข้อแตกต่างของการเป็น จิตแพทย์ – นักจิตวิทยา 1. วุฒิการศึกษา ผู้ที่สำเร็จการศึกษาด้านจิตแพทย์จะต้องจบจากมหาวิทยาลัยในคณะแพทยศาสตร์ หรือคณะที่มีความเกี่ยวข้องกับด้านจิตแพทย์ และจะต้องได้รับการฝึกอบรมจนเกิดความเชี่ยวชาญในด้านจิตเวชศาสตร์และได้รับการรับรองให้ทำการรักษาความผิดปกติทางจิต โดยที่จิตแพทย์ทุกคนจะได้รับการฝึกให้วินิจฉัยโรคและจิตบำบัด พร้อมทั้งนี้คนที่เป็น จิตแพทย์จะมีคำว่า M. D. ต่อท้ายหลังชื่อ-นามสกุลด้วย ในขณะที่ นักจิตวิทยา สามารถ จบการศึกษาได้ทั้งด้านปรัชญา (Ph. D) หรือทางด้านจิตวิทยา (PsyD) ก็ได้ โดยคนที่ศึกษาด้านจิตวิทยาจะเรียนรู้เกี่ยวกับจิตใจ (กระบวนการของจิต) กระบวนความคิด และพฤติกรรมของมนุษย์ ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือเรียกว่าเป็นการเรียนรู้การทำงานของจิตใจของมนุษย์ เช่น การคิด จินตนาการ การฝัน เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีความแตกต่างอีกหนึ่งด้านของจิตแพทย์และนักจิตวิทยาก็คือ จิตแพทย์สามารถสั่งจ่ายยาให้ผู้ป่วยได้ ในขณะที่นักจิตวิทยาจะสามารถทำการจ่ายยาให้ผู้ป่วยได้ก็ต่อเมื่อได้รับการอนุญาตจากจิตแพทย์หรือมีกฏหมายครอบคลุมว่านักจิตวิทยาสามารถสั่งจ่ายยาได้ จิตแพทย์ย้ำโรคซึมเศร้ารักษาหายขาดได้ Link: 2.

5 ความแตกต่าง จิตแพทย์ กับ นักจิตวิทยา | AdmissionPremium.com

หากพูดถึงการเรียนด้านจิตวิทยากับจิตแพทย์น้อง ๆ หลายคนอาจจะสับสนอยู่บ้างในเรื่องของชื่อที่มีความคล้ายกัน แต่ขอบอกเลยว่าถ้าน้องรู้จักทั้งสองอาชีพนี้แล้วจะเห็นความแตกต่างได้มากขึ้น ซึ่งวันนี้พี่ Admission Premium ได้รวม 5 ความแตกต่างจิตแพทย์ กับ นักจิตวิทยา มาฝากน้อง ๆ เอาเป็นว่าไปดูกันเลยว่าสองอาชีพนี้จะแตกต่างกันอย่างไร 1. ด้านการเรียน จิตแพทย์: ผู้ที่สำเร็จการศึกษาด้านจิตแพทย์จะต้องจบจากมหาวิทยาลัยในคณะแพทยศาสตร์ หรือคณะที่มีความเกี่ยวข้องกับด้านจิตแพทย์ โดยที่จิตแพทย์ทุกคนจะได้รับการฝึกวินิจฉัยโรคและจิตบำบัด พร้อมทั้งนี้คนที่เป็นจิตแพทย์จะมีคำว่า M. D. ต่อท้ายหลังชื่อ-นามสกุลด้วย การเป็นจิตแพทย์คือ เรียนแพทย์ทั่วไป 6 ปี จากนั้นเรียนต่อเฉพาะทางด้านจิตเวช (Psychiatry) ต่ออีก 3 สรุปคือจิตแพทย์ ซึ่งถือเป็น "แพทย์เฉพาะทาง" ได้ต้องเรียนมาอย่างน้อย 9 ปีครับ นักจิตวิทยา: สามารถจบการศึกษาได้ทั้งด้านปรัชญา (Ph. D) หรือทางด้านจิตวิทยา (PsyD) ก็ได้ โดยคนที่ศึกษาด้านจิตวิทยาจะเรียนรู้เกี่ยวกับจิตใจ กระบวนความคิด และพฤติกรรมของมนุษย์ ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือเรียกว่าเป็นการเรียนรู้การทำงานของจิตใจของมนุษย์ เช่น การคิด จินตนาการ การฝัน เป็นต้น โดยใช้เวลาเรียน 4 ปีสำหรับระดับปริญญาตรี 2.

ที่ไหนดี

  • นัก จิตวิทยา กับ จิตแพทย์ เนื้อเพลง
  • จาน กระเบื้อง โบราณ
  • นัก จิตวิทยา กับ จิตแพทย์ เงินเดือน
  • ‘ดุสิตธานี’ เปิดแคมเปญ ‘ดุสิต แคร์ การ์ด’ ส่งต่อรายได้ร่วมสู้ภัยโควิด-19 พร้อมเรียนรู้วิกฤติ เตรียมยกมาตรฐานใหม่ New Norm สร้างความมั่นใจให้ลูกค้า – i2C Communications
  • สีฟุตบาทขาวแดง ขาวดำ ขาวเหลือง หมายถึงอะไร สีไหนห้ามจอดรถ?
  • เพชรเกษม 35 1 ruble
  • ขาย psn card numbers

แชทกับนักจิตวิทยา - ดร.สุววุฒิ วงศ์ทางสวัสดิ์

ด้านการทำงาน จิตแพทย์: มีความมุ่งเน้นในการรักษาไปในทางกายภาพและสมองของผู้ป่วย หรือการใช้ยาเพื่อช่วยปรับสมดุลเคมีในสมองให้มีการทำงานได้ตามปกติ นักจิตวิทยา: จะมุ่งเน้นในการบำบัดเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมอารมณ์ ความนึกคิดของตนเองได้ ทั้งนี้ยังช่วยให้ผู้ป่วยสามารถจัดการหรือรับมือกับปัญหาทางอารมณ์ให้ดีขึ้น 3. แนวทางการรักษา จิตแพทย์: มักใช้ยาเป็นแนวทางในการรักษาอาการของผู้ป่วยเป็นหลัก นักจิตวิทยา: ใช้วิธีในการพูดคุยให้คำปรึกษามากกว่า และบ่อยครั้งที่ จิตแพทย์กับนักจิตวิทยาจะต้องทำงานร่วมกันในการรักษาผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางด้านสภาวะจิตใจ กล่าวคือ นักจิตวิทยาจะค่อยให้คำปรึกษาในการช่วยบำบัดอาการ ส่วนจิตแพทย์จะเป็นคนจ่ายยาให้ผู้ป่วยควบคู่กัน 4. ระยะเวลาการรักษา จิตแพทย์: ส่วนใหญ่จะนัดพบกับผู้ป่วยในช่วงเวลาสั้น ๆ ประมาณ 10 – 30 นาที ทำการพูดคุยกับผู้ป่วย และจ่ายยา โดยจะทำการเว้นระยะห่างในการนัดห่างออกไปเป็น 1 – 3 เดือน นักจิตวิทยา: จะมีการนัดพบพูดคุยกับผู้ป่วยประมาณ 45 นาที สัปดาห์ละ 1 ครั้งหรือ 2 ครั้งต่อสัปดาห์ ระยะเวลาในการรักษาจะอยู่ที่ประมาณ 6 – 12 ครั้ง 5.

มีกระบวนการทำงานที่ต่างกัน ทั้งจิตแพทย์และนักจิตวิทยามีกระบวนการทำงานที่แตกต่างกัน คือ จิตแพทย์ มีความมุ่งเน้นในการรักษาไปในทางกายภาพของสมองผู้ป้วย หรือ การใช้ยาเพื่อช่วยปรับสมดุลทางเคมีของสมอง ให้มีการทำงานได้ตามปกติ ส่วน นักจิตวิทยาจะมุ่งเน้นในการบำบัดเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมอารมณ์ ความนึกคิดของตนเองได้ ทั้งนี้ยังช่วยให้ผู้ป่วยสามารถจัดการหรือรรับมือกับปัญหาทางอารมณ์ให้ดีขึ้นด้วย 3. มีแนวทางการรักษาที่ต่างกัน ถึงแม้ว่าทั้ง 2 สาขาจะมีการวินิจฉัยและทำการรักษาความเจ็บป่วยทางจิตเหมือนกัน แต่เราก็จะเห็นความแตกต่างของทั้งสองได้อย่างชัดเจนคือ จิตแพทย์มักจะใช้ยาเป็นแนวทางในการรักษา อาการของผู้ป่วยเป็นหลัก ในขณะที่ นักจิตวิทยาจะใช้วิธีในการพูกคุยให้คำปรึกษามากกว่า และในบ่อยครั้งที่ จิตแพทย์และนักจิตวิทยาจะต้องทำงานร่วมกันในการรักษาผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางด้านสภาวะจิตใจ กล่าวคือ นักจิตวิทยาจะค่อยให้คำปรึกษาในการช่วยบำบัดอาการ ส่วนจิตแพทย์จะเป็นคนจ่ายยาให้ผู้ป่วยควบคู่กันไป 4. ผู้ป่วยควรเลือกไปรักษากับใครดี? หาก ผู้ป่วยมีอาการที่ค่อนข้างรุนแรง มีแนวโน้มสูงที่จะรู้สึกอยากใช้สารเสพติด รู้สึกอยากทำร้ายตัวเองหรือฆ่าตัวตาย และมีพฤติกรรมเสี่ยงอื่น ๆ ก็ควรที่จะ ได้รับการรักษาจากจิตแพทย์โดยตรงเลย เพื่อรับยาที่จะช่วยทำให้ผู้ป่วยสามารถแก้ปัญหาหรือทำให้อาการเหล่านั้นดีขึ้นได้ ซึ่งอาจจะนอกเหนือจากการที่ได้รับการบำบัดจากนักจิตวิทยา ใน ส่วนของผู้ป่วยที่มีความกังวล แต่ยังไม่มีอาการขั้นรุงแรงมาก ก็อาจจะเลือก ใช้วิธีในการบำบัดกับนักจิตวิทยา ซึ่งถ้ามีอาการที่ดีก็ไม่ต้องเข้ารับการรักษาจากจิตแพทย์ แต่ถ้าหากอาการยังไม่ดีผู้ป่วยก็จะต้องเข้ารับการรักษาจากจิตแพทย์ร่วมด้วย 5.

รป-หลอ-หลวง-พอ-พธ