ตาราง Bmi ชาย | หาค่า Bmi หาค่าดัชนีมวลกาย และวิธีอ่านค่า แต่ละเพศ สุขภาพ โรคภัย โภชนาการ

July 2, 2022

5 นิ้ว ผู้หญิง ไม่เกิน 31. 5 นิ้ว การวัดอัตราส่วนเอวต่อสะโพก เป็นการวัดโดยนำรอบเอวมาเปรียบเทียบกับความสูง ซึ่งจะให้ผลที่ดีกว่าการวัดรอบเอวเพียงอย่างเดียว โดยค่าที่ได้ซึ่งดีต่อสุขภาพคือ รอบเอวจะต้องน้อยเกินกว่าครึ่งหนึ่งของความสูง ทั้งนี้เมื่อได้ข้อมูลต่าง ๆ ครบแล้ว แพทย์จะนำมาวินิจฉัยหาข้อสรุปอีกครั้งหนึ่งว่าผู้ป่วยอยู่ในเกณฑ์ที่มีความเสี่ยงสุขภาพหรือไม่ ค่าดัชนีมวลกายสูง และเป็นโรคอ้วน เสี่ยงกับโรคอะไรบ้าง?

  1. ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน - Thaihealth.or.th | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  2. น้ำหนักที่สุขภาพดีของเราเท่าไหร่กัน (ฝ่ายชาย)
  3. หาค่า BMI หาค่าดัชนีมวลกาย และวิธีอ่านค่า แต่ละเพศ สุขภาพ โรคภัย โภชนาการ

ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน - Thaihealth.or.th | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

5 ในชาย และ 34. 4 ในหญิง มีภาวะอ้วน ขณะที่ร้อยละ 15. 4 ในชาย และ 36. 1 ในหญิง มีภาวะอ้วนลงพุง วิธีการการคัดกรองภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน 1. ดัชนีมวลกาย ( Body mass index) เป็นค่าดัชนีความสัมพันธ์ระหว่างส่วนสูง และน้ำหนักตัว โดยคำนวณจากน้ำหนักตัว (กิโลกรัม) หารด้วยความสูง (เมตรยกกำลังสอง) องค์การอนามัยโลกได้มีการแบ่งเกณฑ์ค่าระดับดัชนีมวลกาย (BMI) เพื่อใช้เป็นแบบคัดกรองภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน โดยค่าดัชนีมวลกาย มากกว่าหรือเท่ากับ 25 กก. /ตร. เมตรแสดงว่า เริ่มมีภาวะน้ำหนักเกิน และค่าดัชนีมวลกายที่ 30 กก. เมตร หมายถึง อ้วน สำหรับประชากรในเอเชีย มีข้อเสนอจุดตัดในการแบ่งกลุ่ม โดยที่ค่าดัชนีมวลกาย ที่ 23 กก. เมตร หมายถึง ภาวะน้ำหนักเกิน และค่าดัชนีมวลกายที่ 25 กก. เมตร แสดงว่า อ้วน (ข้อมูลตารางที่ 1) ตารางที่ 1 ค่าดัชนีมวลกาย ( BMI) ตามเกณฑ์ขององค์การอนามัยโลกและค่าจุดตัดของประชากรเอเชีย ดัชนีมวลกาย (กก. เมตร) กลุ่ม เกณฑ์ขององค์การอนามัยโลก ( 1998) เกณฑ์สำหรับประชากรเอเชีย น้ำหนักน้อย < 18. 5 < 18. 5 น้ำหนักปกติ 18. 5 – 24. 99 18. 5 - 22. 99 น้ำหนักเกิน ≥ 25 ≥ 23 pre-obese 25 – 29. 99 เสี่ยง (at risk) 23 - 24.

เมตร) โดยความชุกสูงสุดในกลุ่มอายุ 45-59ปี ความชุกลดลงในกลุ่มผู้สูงอายุและต่ำสุดในกลุ่มอายุ 80ปีขึ้นไป เส้นรอบเอว เส้นรอบเอวของประชากรชายและหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป เฉลี่ยเท่ากับ 79. 9 ซม. และ79. 1 ซม. ตามลำดับ ในกลุ่มอายุเดียวกันผู้ชายมีเส้นรอบเอวใหญ่กว่าผู้หญิงทุกกลุ่มอายุ โดยทั่วไปทั้งชายและหญิงมีขนาดเส้นรอบเอวเล็กสุดในกลุ่มอายุ 15-29 ปี และเพิ่มขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้นโดยสูงสุดในกลุ่มอายุ 45–59 ปี จากนั้นเส้นรอบวงเอวมีขนาดลดลงในวัยผู้สูงอายุ รูปที่ 2 ค่าเฉลี่ยเส้นรอบเอว (ซม. ) ของประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป จำแนกตามกลุ่มอายุและเพศ ข้อมูลจาก รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ. ศ. 2551-2 โดยสำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย ที่มา: Food and Nutrition Policy for Health Promotion

  1. สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม(สมอ.)
  2. รีวิวหนัง ห้องเช่าขังตาย No One Gets Out Alive หอพักสุดสะพรึงเข้าแล้วออกไม่ได้ พากย์ไทยทาง Netflix | TrueID In-Trend
  3. ถึง net idol ชอบโชว์ทั้งหลาย..รู้หรือไม่ว่า คุณกำลังเป็นโรคจิต!! - Pantip
  4. ราคา hard drive 1tb price in pakistan
  5. ความ หมายเลข 428
  6. ดู หนัง fear the walking dead season 1.5
  7. ตาราง bmi ชาย

น้ำหนักที่สุขภาพดีของเราเท่าไหร่กัน (ฝ่ายชาย)

ศ. 2547 พบว่า ค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายของคนกรุงเทพฯ สูงที่สุด รองลงมาคือภาคกลาง และต่ำสุดที่ภาคเหนือ เมื่อคิดเป็นช่วงอายุ พบว่าตั้งแต่อายุ 15 ปีขึ้นไปจะมีดัชนีมวลกายเพิ่มขึ้น และหลังจากอายุ 60 ปี ก็จะมีดัชนีมวลกายลดลงทั้งเพศชายและเพศหญิง ที่มา:, เว็บไซต์คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล, กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

หาค่า BMI หาค่าดัชนีมวลกาย และวิธีอ่านค่า แต่ละเพศ สุขภาพ โรคภัย โภชนาการ

65 เมตร (165 เซนติเมตร) ค่าดัชนีมวลกาย = 68 / (1. 65 x 1. 65) = 24. 98 และเมื่อได้ค่าดัชนีมวลกายแล้วก็จะนำไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานของค่าดัชนีมวลกายเพื่อคัดกรองว่าผู้ป่วยนั้นอยู่ในคนกลุ่มใด ค่ามาตรฐานของดัชนีมวลกายเป็นอย่างไร? โดยปกติคนเอเชียจะใช้ค่ามาตรฐานดัชนีมวลกายเท่ากัน ซึ่งค่ามาตรฐานของดัชนีมวลกายเหล่านี้จะเป็นเกณฑ์โดยคร่าว ๆ เท่านั้น และอาจแบ่งเป็น 4 ระดับใหญ่ ๆ คือ ผอม น้อยกว่า 18. 5 ปกติ 18. 5-22. 9 อ้วนเล็กน้อย 23. 0-24. 9 อ้วนปานกลาง (อ้วนระดับ 1) 25. 0-29. 9 อ้วนมาก (อ้วนระดับ 2) มากกว่า 30. 0 หรือในบางแห่งอาจแยกย่อยลงไปอีกตามเกณฑ์ดังนี้ ผอมมาก (ผอมระดับ 3) น้อยกว่า 16. 0 ผอมปานกลาง (ผอมระดับ 2) 16. 0-16. 9 ผอมเล็กน้อย (ผอมระดับ 1) 17. 0-18. 4 น้ำหนักเกิน มากกว่าหรือเท่ากับ 23. 0 ดัชนีมวลกายสามารถระบุความเสี่ยงสุขภาพได้หรือไม่?

**ใส่ความสูง (Height) และน้ำหนัก (Weight) แล้วกดที่ Calculate** สูตรหาค่า BMI คือ [ดัชนีมวลกาย= น้ำหนักตัว / ความสูง ยกกำลังสอง] น้อยกว่า 16 น้ำหนักน้อยระดับ 3 น้ำหนักน้อยระดับ 2 น้ำหนักน้อยระดับ 1 น้ำหนักปกติ ผู้ชายสมส่วนที่ 22-23 ผู้หญิงสมส่วนที่ 19-20 น้ำหนักเกิน ภาวะน้ำหนักเกิน (Overweight) โรคอ้วนระดับ 1 โรคอ้วนระดับ 2 โรคอ้วนระดับ 3 โรคอ้วน (Obesity) เสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง, ไขมันในเลือดสูง, ข้อเข่าเสื่อม, นิ่วในถุงน้ำดี, ตับอักเสบจากไขมันสะสม, เบาหวาน, ฯ Q1: ค่า BMI ถูกสร้างมาเพื่ออะไร? A: BMI เป็นค่าที่กำหนดขึ้นมาใช้ในทางการแพทย์ซึ่งการแปลผลจะมุ่งเน้นที่ความเสี่ยงต่อสุขภาพเมื่อดัชนีมวลกายสูงหรือต่ำกว่าเกณฑ์มากกว่าที่จะใช้เพื่อประเมินรูปร่าง(Body shape)หรือความดึงดูดทางเพศ(Sex appeal or attractiveness)นะค่ะ นั่นคือ ผู้ชายที่ BMI > 18. 5 kg/m2 หลายคนอาจจะมีรูปร่างผอมอยู่ (Skinny or thin body) หรือผู้หญิงที่ BMI > 21 kg/m2 อาจจะอวบๆ ท้วมๆ ดังนั้นถ้าคุณจะใช้ BMI เพื่อดูว่ารูปร่างสมส่วนหรือไม่ ขอแนะนำดังนี้ค่ะ ผู้ชาย: รูปร่างจะดูมีกล้ามเนื้อ ได้สัดส่วน ควรมี BMI 22 – 23 kg/m2 (+/- 0.

ตาราง bmi ชาย

99 อ้วนระดับ 1 30 - < 34. 99 25 – 29. 99 อ้วนระดับ 2 35 - < 39. 99 ≥ 30 อ้วนระดับ 3 ≥ 40. 00 - 2. เส้นรอบเอว (waist circumference) เป็นค่าที่ได้จากการวัดรอบเอว ด้วยสายวัดมาตรฐาน โดยวัดรอบเอวระดับตำแหน่งกึ่งกลางของข้างเอวระหว่างขอบล่างของซี่โครงล่างกับขอบบนของ iliac crest ให้สายรอบเอวแนบรอบเอว และอยู่ในแนวขนานกับพื้น ซึ่งภาวะอ้วนลงพุง หมายถึง ความยาวเส้นรอบเอว ≥ 90ซม. ในชาย และ ≥ 80ซม. ในหญิง จากผลการสำรวจ พบว่า ค่าเฉลี่ยของดัชนีมวลกายในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป เฉลี่ยเท่ากับ 23. 1 กก. เมตร ในผู้ชายและ 24. 4 กก. เมตร ในผู้หญิง ค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายเพิ่มขึ้นตามอายุ จนมีค่าสูงสุดในกลุ่มอายุ 45–59 ปี หลังอายุ 60 ปีขึ้นไปดัชนีมวลกายลดลง และต่ำสุดเมื่ออายุ 80 ปีขึ้นไป และเมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายตามภาคพบว่าผู้ชายและผู้หญิงในกรุงเทพฯ มีดัชนีมวลกายสูงที่สุด รองลงมาคือภาคกลาง รูปที่ 1: ค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกาย (กก. เมตร) ในประชากรไทยอายุ 15ปีขึ้นไป จำแนกตามกลุ่มอายุและเพศ ความชุกของภาวะอ้วนในประชากรไทยอายุ 15ปีขึ้นไป พบว่าเพศชายร้อยละ 28. 3และเพศหญิงร้อยละ 40. 7จัดว่าอ้วน (ดัชนีมวลกาย ≥25กก.

คงแมน1-เตมเรอง-พากยไทย